แบบดาว (Star Network)
เป็นวิธีการที่นิยมใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเข้ากับคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
(Host Computer) ซึ่งจะใช้เป็นเครื่องศูนย์กลาง
และต่อสายไปยังคอมพิวเตอร์หรือเทอร์มินัลตามจุดต่างๆ
แต่ละจุดเปรียบได้กับแต่ละแฉกของดาวนั่นเอง ในการต่อแบบนี้
คอมพิวเตอร์แต่ละตัวจะถูกต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางโดยตรง
จึงไม่มีปัญหาการแย่ง การใช้สายสื่อสาร จึงทำให้มีการตอบสน อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559
การเชื่อมต่อแบบบัส
เครือข่ายแบบบัส (bus topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง
ๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ
โดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล
จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลา หนึ่งๆ
การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีกา อ่านเพิ่มเติม
การเชื่อมต่อแบบวงแหวน
แบบวงแหวน (Ring Network)
เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระหว่างจุดโดยต่อเป็นวงแหวน
ซึ่งคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางก็จะรวมอยู่ด้วย
การทำงานแต่ละเครื่องจะทำงานของตนเองและการเชื่อมโยงจะทำให้มีการแบ่งงานกันทำและการใช้แอดเดรสของปลายทางเอาไว้เพื่อให้ทราบว่า ต้องการส่งไปยังเครื่องใด
ซึ่งข้อมูลที่ส่งจะผ่านๆทุกจุดในวงแหวน
ซึ่งหากมีปัญหาขัดข้องที่สถานนี้ใดก็จะทำให้ทั้งระบบไม่สามารถติดต่อกันได้ อ่านเพิ่มเติม
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม
การโอนถ่ายข้อมูลแบบอนุกรม ข้อมูลจะถูกส่งออกมาทีละบิต
ระหว่างจุดส่งและจุดรับ การส่งข้อมูลแบบนี้จะช้ากว่าแบบขนาน
การถ่ายโอนข้อมูลแบบอนุกรม ต้องการตัวกลางสำหรับการสื่อสารเพียงช่องเดียว
หรือสายเพียงคู่เดียว ค่าใช้จ่ายจะถูกกว่าแบบขนาน สำหรับการส่งระยะทางไกลๆ โดยเฉพาะเมื่อเรามีระบบการสื่อสารทางโทรศัพท์ไว้ใช้งานอยู่แล้ว
ย่อมเป็นการประหยัดกว่าที่จะทำการติดต่อสื่อสารทีละ 8 ช่อง
เพื่อการถ่า อ่านเพิ่มเติม
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน
การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทำได้โดยการส่งข้อมูลออกมาทีละหลายๆ บิตพร้อมกัน
จากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ ตัวกลางระหว่างสองเครื่อง
จึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางหลายๆ ช่องทาง โดยมากจะเป็นสายนำสัญญาณหลายๆ
เส้นโดยจำนวนสายส่งจะต้องเท่ากับจำนวนบิตที่ต้องการส่งแต่ละครั้ง
ปกติความยาวของสายไม่ควรยาวมากเกินไป เพราะอาจทำให้เกิดปัญหาสัญญาณสูญหายไปกับความต้านทานของสาย
การส่งโดยวิธนี้จึงนิยมใช้กับการส่งข้อมูลในระยะทางใก อ่านเพิ่มเติม
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง
กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล
เพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน วิธีการส่งข้อมูล จะแปลงข้อมูลเป็นสัญญาณ หรือรหัสเสียก่อนแล้วจึงส่งไปยังผู้รับ
และเมื่อถึงปลายทางหรือผู้รับก็จะต้องมีก อ่านเพิ่มเติม
ประโยชน์ของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หนึ่งเครือข่ายจะมีการทำงานรวมกันเป็นกลุ่ม
ที่เรียกว่า กลุ่มงาน (workgroup) แต่เมื่อเชื่อมโยงหลายๆ
กลุ่มงานเข้าด้วยกัน
ก็จะเป็นเครือข่ายขององค์กร และถ้าเชื่อมโยงระหว่างองค์กรผ่านเครือข่ายแวน
ก็จะได้เครือข่ายขนาดใหญ่ขึ้ อ่านเพิ่มเติม
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือ คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก (อังกฤษ: computer
network; ศัพท์บัญญัติว่า ข่ายงานคอมพิวเตอร์)
คือเครือข่ายการสื่อสารโทรคมนาคมระหว่างคอมพิวเตอร์จำนวนตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้
การเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆในเครือข่าย (โหนดเครือข่าย)
จะใช้สื่อที่เป็นสายเคเบิลหรือสื่อไร้สาย เครือข่า
อุปกรณ์ที่สําคัญในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยทั่วไปจะใช้เทคโนโลยีการสื่อสารด้วยสายตัวนำกันมากที่สุด
เพราะมีต้นทุนในการเชื่อมโยงต่ำมากกว่าเทคโนโลยีอื่น
การเชื่อมโยงเครือข่ายสิ่งที่สำคัญคือความเร็วในการรับส่งข้อมูล
ซึ่งความเร็วนี้จะขึ้นอยู่กับคุณภาพของสายตัวนำที่ใช้
ในช่วงแรกๆการสื่อสารด้วยสายตัวนำจะมีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายขนาด 9,600
บิตต่อวินาที
ต่อมามีการพัฒนาจ อ่านเพิ่มเติม
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. โทโปโลยีแบบบัส
เป็นโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ลักษณะการทำงานของเครือข่าย โทโปโลยีแบบบัส คืออุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด
ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า”บัส”
(BUS) เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนด หนึ่งภายในเครือข่าย
จะต้องตรวจส อ่านเพิ่มเติม
วิธีการถ่ายโอนข้อมูล
วิธีการถ่ายโอนข้อมูลเป็นการส่งสัญญาณออกจากเครื่องและรับสัญญาณเข้าไปในเครื่อง
การถ่ายโอนข้อมูลสามารถจำแนกได้ 2 แบบ คือ 1. การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน การถ่ายโอนข้อมูลแบบขนาน ทำได้โดยการส่งข้อมูลออกทีละ 1 ไบต์ หรือ 8
บิตจากอุปกรณ์ส่งไปยังอุปกรณ์รับ
อุปกรณ์ตัวกลางระหว่างสองเครื่องจึงต้องมีช่องทางให้ข้อมูลเดินทางอย่างน้อย 8
ช่องทาง
เพื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านโดยมากจะเป็นสายสัญญาณแบบขนาน ระยะทางของสายสัญญาณแบบขนานระหว่างสองเครื่องไม่ควรยาวเกิน
100 ฟุต เพ อ่านเพิ่มเติม
สื่อกลางการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
เป็นส่วนที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
และอุปกรณ์นี้ยอมให้ข่าวสารข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
สื่อกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลมีอยู่หลายประเภท
แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณข้อมูลที่สื่อกลางนั้น ๆ สามารถนำผ่านไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง
การวัดปริมาณหรือความจุในการนำข้อมูล หรือที่เรียกกันว่า “แบนด์วิดท์”
(Bandwidth) มีหน่วยเป็ อ่านพเิ่มเติม
องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ระบบสื่อสารข้อมูลสาหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
มีองค์ประกอบพื้นฐานที่สำคัญ ดังนี้
1. ข่าวสาร (Message)
ในทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร
ข่าวสารเป็นข้อมูลที่ผู้ส่งทาการส่งไปยังผู้รับผ่านระบบการสื่อสาร
ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ ดังต่อไป – ข้อมูล (Data) เป็นรายละเอียดของสิ่งต่าง
ๆ ที่ถูกสร้างและจัดเก็บด้วยคอมพิวเตอร์ เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคล ข้อมู อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
ความหมายของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของการสื่อสารข้อมูล/เครือข่าย
การสื่อสารข้อมูล (Data
Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ
โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกล อ่านเพิ่มเติม
ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นของการสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ นับเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า
อย่างเช่นในสำนักงานหนึ่งมีเครื่องอยู่ 30 เครื่อง หรือมากกว่านี้
ถ้าไม่มีการนำระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้
จะเห็นว่าต้องใช้เครื่องพิมพ์อย่างน้อย 5 - 10 เครื่อง
มาใช้งาน แต่ถ้ามีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้แล้วละก้อ ก็สามารถใช้อุปกรณ์
หรือเครื่องพิมพ์ประมาณ 2-3 เครื่อง ก็พอต่อการใช้งานแล้ว เพราะว่าทุกเครื่องสามารถเข้าใช้เครื่องพิ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)